กรณีศึกษาและข่าวโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลิตภัณฑ์ยา

กรณีศึกษา แพทย์กับบริษัทยาที่ส่งเสริมการขายแบบ Off-label promotion
กรณีศึกษา ยากาโน่ ป๊อก
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์โควเมม 

ผลิตภัณฑ์อาหาร

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์บริษัท นูทริฟาย จำกัด (ผลิตภัณฑ์บล็อกแป้ง)
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์เอเจล (AGEL)

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์โอเมกา-3 (เช่น น้ำมันปลา) ในวารสาร JAMA

กรณีศึกษา เครื่องดื่มอินทรา
กรณีศึกษา เครื่องดื่มเปปทีน

ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

 

ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง

กรณีศึกษา ฮีรูสการ์โพสต์ แอคเน่
กรณีศึกษา สบู่ลักซ์

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ลังโคม

กรณีศึกษา เครื่องสำอางเบรสเซ้นส์ พิงค์

ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย

กรณีศึกษา น้ำยาล้างห้องน้ำวิกซอลเรด

 

 

ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ

 

ข่าว

(ข่าว)-ทาโลชั่นจุดซ่อนเร้นหมอชี้ตั้งครรภ์ยากสื่อนอกอัดหญิงไทยเชื่อผิวขาวชีวิตดีขึ้น (คม ชัด ลึก 25 กันยายน 2555)
(ข่าว)-อย.ปฏิบัติการเชือดสินค้ายี่ห้อดังลักไก่โฆษณา-หมกเม็ดบัญชียา (สยามธุรกิจ 26 กันยายน 2555)
(ข่าว)-หมอเตือนถึงตายฉีดฟิลเลอร์ผิดวิธีเสริมจมูกเสี่ยงตาบอดเหยื่อมือฉีดสารโผล่อีก (คม ชัด ลึก 26 กันยายน 2555)
(ข่าว)-เตือนวิตามินลดน่องไม่ผ่าน อย.
(ไทยรัฐ 28 กันยายน 2555)

เอกสารเกี่ยวกับ กสทช.ในการจัดการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

วัตถุประสงค์ของประเภทกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์ซึ่งต้องขอรับการจัดสรรคลื่นความถี่ตามกฎหมายว่าด้วยการจัสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (เอกสาร 15 กรกฎาคม พ.ศ.2556)

หลักการกำกับดูแลผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์เกี่ยวกับการออกอากาศรายการหรือการโฆษณาผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้โฆษณา. จัดทำโดย กลุ่มงานรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สำนักงาน กสทช. (เอกสาร 15 กรกฎาคม พ.ศ.2556)

ขั้นตอนการดำเนินงานเมื่อประชาชนยื่นคำขอหรือคำร้องเรียนต่อ กสท. (เอกสาร 15 กรกฎาคม พ.ศ.2556)

**********

ประกาศ กสทช. เรื่อง การกระทำที่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ.2555 

 

นิยามศัพท์

นิยาม “counterfeit drug” ของสหรัฐอเมริกาตามกฎหมาย 21 U.S.C. section 321 (2) คำว่า “counterfeit” ในความหมายที่แปลว่า “ปลอม” ไม่ใช่คำที่กล่าวถึงเรื่องคุณภาพ แต่เป็นคำที่กล่าวถึงเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาหรือเครื่องหมายการค้าเป็นหลัก

(2) The term “counterfeit drug” means a drug which, or the container or labeling of which, without authorization, bears the trademark, trade name, or other identifying mark, imprint, or device, or any likeness thereof, of a drug manufacturer, processor, packer, or distributor other than the person or persons who in fact manufactured, processed, packed, or distributed such drug and which thereby falsely purports or is represented to be the product of, or to have been packed or distributed by, such other drug manufacturer, processor, packer, or distributor.

ข่าวเกี่ยวกับศูนย์ปฏิบัติการป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ

พณ.ลุยปราบโกงละเมิดทรัพย์สินฯ

นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังเปิดงานวันทรัพย์สินทางปัญญาโลก หรือ World IP Day 2013 พร้อมเปิดตัวศูนย์ปฏิบัติการป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ ว่า วันที่ 7 พ.ค.นี้ กระทรวงพาณิชย์เสนอให้ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบการทำงานของศูนย์ปฏิบัติการป้องปรามการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาแห่งชาติ เพื่อให้มีความชัดเจนในการทำงาน รวมทั้งการบังคับใช้กฎหมายมากขึ้น โดยมี 25 หน่วยงานภาครัฐและเอกชนร่วมทำงาน ซึ่งหากมีการจับกุมจะมีการเชื่อมโยงกัน เพื่อบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเด็ดขาด รวมทั้งหากพบผู้ละเมิดรายใหญ่จะส่งต่อไปยังกรมสรรพากรตรวจสอบภาษี หรือหากมีมูลค่าละเมิดเกิน 500,000 บาท จะส่งต่อไปยังสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ป.ป.ง.) เพื่อใช้กฎหมายอายัดทรัพย์

ทั้งนี้ ล่าสุดสามารถจับผู้กระทำการละเมิดสินค้าเสื้อผ้าในห้างสรรพสินค้าพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้แล้ว 1 ราย รวมของกลางเกิน 500,000 บาท ซึ่ง ป.ป.ง.ได้ยึดทรัพย์แล้ว โดยตั้งเป้าการจับกุมรายใหญ่ให้ได้ 1-2 ราย/เดือน แม้จะมีการตั้งเป้าหมายการทำงาน แต่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการจับกุมเท่านั้น

อย่างไรก็ตาม ในปีนี้กำหนดจัดงานรูปแบบ “การสร้างสรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่” โดยกรมทรัพย์สินทางปัญญาในฐานะหน่วยงานหลักที่ดูแลรับผิดชอบด้านทรัพย์สินทางปัญญา จึงจัดกิจกรรม ได้แก่ การเปิดตัวการ์ตูนมาสคอต “Mr.IP” เพื่อนำมาถ่ายทอดสร้างความตระหนักในการเคารพสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาแก่เยาวชน

ที่มา: กรมทรัพย์สินทางปัญญา. http://www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=view&id=2111&Itemid=390 

 

 

นพย. 1

โครงการ “การพัฒนาผู้นำเครือข่ายในการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาระบบยา (นพย.)
รุ่นที่ 1”


ใบสมัคร: ดาวน์โหลด

รายละเอียดโครงการ: ดาวน์โหลด

เอกสารเพื่อศึกษาก่อนเข้าร่วมอบรม

1. รายงานสถานการณ์ระบบยาประจำปี 2552, 2553, 2554 จัดทำโดย กพย. (คลิกที่รูป)

 

2. วารสารยาวิพากษ์

3. หนังสือ ปฏิบัติการมัดไม้ซีกไปงัดไม้ซุง (คลิกที่รูป)

4. หนังสือ สิทธิบัตรยา เล่ห์อุบายการผูกขาด เรียบเรียงโดย กฤษฎา ศุภวรรธนะกุล (คลิกที่รูป)

5. ร่าง พระราชบัญญัติยา พ.ศ. …. (ฉบับประชาชน) (คลิกที่รูป)

ร่างพ.ร.บ.ยาฉบับประชาชน

เอกสารแนะนำอื่นๆ

1. Management Sciences for Health. 1997. Chapter 1 Toward Sustainable Supply and Rational Use of Drugs. In Managing Drug Supply: the selection, procurement, distribution, and use of pharmaceuticals. 1997. Jonathan D. Quick, (ed.).

2. มองมุมใหม่ จัดการใหม่ ระบบสุขภาพชุมชน


รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้ารับการอบรม

  1. ภญ.สุภาวดี  เปล่งชัย – รพ.เสลภูมิ   อำเภอเสลภูมิ  จังหวัดร้อยเอ็ด
  2. ภก.กาญจนพงษ์  เพ็ญทองดี – รพ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  3. ภญ.เบญจมาศ  บุดดาวงศ์ – รพ.โนนคูณ  จ.ศรีสะเกษ
  4. ภญ.ดาริน จึงพัฒนาวดี – รพ.สมเด็จพยุพราชด่านซ้าย  อ.ด่านซ้าย จ.เลย
  5. ภก.สุภนัย ประเสริฐสุข – สสจ.ขอนแก่น
  6. ภญ.กนกพร ธัญมณีสิน – สสจ.ขอนแก่น
  7. ภก.พิสณฑ์ ศรีบัณฑิต – สสจ.เชียงใหม่
  8. ภก.สงกรานต์  มีชูนึก – รพ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย
  9. ภญ.เสาวนีย์ สาสนอ่ำ – รพ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ
  10. ภญ.ขนิษฐา   วัลลีพงษ์ – รพ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา
  11. ภก.พันธ์เทพ เพชรผึ่ง – รพ.เวียงสา จ.น่าน
  12. ภก.ชาญชัย   บุญเชิด – รพสต.ส้มผ่อ .อ.ไทยเจริญ จ.ยโสธร
  13. ภก.กิติศักดิ์ อ่อนปาน – สสจ.อุตรดิตถ์
  14. ภญ.ไพลิน สาระมนต์ ธรรมสอน – รพ.เวียงแก่น อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
  15. ภก.จุมพล ประถมนาม – รพ.ปทุมราชวงศา อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
  16. ภญ.อรภินท์   พุ่มภัทรชาติ – รพ.สันกำแพง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
  17. ภญ. จันทร์จรีย์ ดอกบัว – รพ.ปทุมราชวงศา อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
  18. ภก.เอกชัย  เยาว์เฉื้อง    – สสจ.สระบุรี
  19. ภก.ทรงวุฒิ  สานจันทึก – รพ.วังม่วงสัทธรรม อ.วังม่วง จ.สระบุรี
  20. ภญ.จิราพร  พงษ์สุข – รพ.มวงเหล็ก อ.มวกเหล็ก  จ.สระบุรี
  21. ภก.ณัฐวรรธน์  เลิศภานิธิศ – รพ.ดอกคำใต้ อ.ดอกคำใต้ จังหวัด พะเยา
  22. ภก.รังสรรค์   ศิริชัย – รพ.อำนาจเจริญ
  23. นางสาวพงศ์ผกา  ภัณฑลักษณ์ – สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อ.เมือง จ.นครราชสีมา
  24. ภญ.ฐิติมา น้อยวินิจ มาแก้ว – รพ.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
  25. ภญ.จันทภรณ์ โสมอินทร์ – รพ .อำนาจเจริญ
  26. ภญ.อรนิฏา ธารเจริญ – สสจ.กาฬสินธ์
  27. ภญ.อรวรรณ กาดสมบูรณ์ – รพ.ลอง จ.แพร่
  28. ภญ.วรรณภา ไกรโรจนานันท์ – กองทุนยา เวชภัณฑ์ และวัคซีน สปสช. กรุงเทพมหานคร
  29. ภญ.โชติกา ชูพงษ์เสริฐ – สปสช. เขต 4 อำเภอเมือง จ.สระบรี
  30. ภญ. ปรางวไล เหล่าชัย  – สปสช. เขต 5อ.เมือง  จ.ราชบุรี

หลักการและเหตุผล

ในการดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยาของแผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (ระยะที่ 1) และแผนงานพัฒนากลไกเฝ้าระวังระบบยา(ระยะที่ 2) หรือ กพย. พบว่าการขับเคลื่อนงานที่ผ่านมาสามารถดำเนินการได้สำเร็จในระดับพื้นที่ และในลักษณะเฉพาะประเด็น  แต่ยังไม่สามารถบรรลุการจัดการปัญหาในเชิงระบบ ภาพรวมได้ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากการขาดปัจจัยสำเร็จที่สำคัญคือกำลังคนที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง  ดังนั้นในแผนปฎิบัติการปีที่ 2  ของแผนงานพัฒนากลไกเฝ้าระวังระบบยา (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556)     จึงได้กำหนดตัวชี้วัดที่ 1. ว่าด้วยการพัฒนาความเข้มแข็งกลไกการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในทุกระดับเพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบการเฝ้าระวังระบบยา  และมีกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรเสริมศักยภาพผู้นำเครือข่ายเฝ้าระวังระบบยามารองรับ  โดยที่เป้าหมายการผลิตผู้นำฯเพื่อมาทำหน้าที่ร่วมใน

หลักการที่สำคัญในการพัฒนาผู้นำในการขับเคลื่อน  ถือว่าเป็นจุดเริ่มการพัฒนา “คน” เพื่อมาเป็น “ผู้นำ” ในการขับเคลื่อนการพัฒนา “งาน” ให้เกิดความเชื่อมต่อการขับเคลื่อนใน “การเฝ้าระวังและจัดการปัญหาในยาเชิงระบบ” ครบวงจร และต่อเนื่องและยั่งยืนในอนาคต ผ่านกระบวนการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติงานจริงร่วมกับวิทยากร  ผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานจริงในการขับเคลื่อนในการพัฒนาระบบยา

เป้าหมาย: สร้าง “นักขับเคลื่อน”การพัฒนาระบบยาจากปัญหาพื้นที่สู่การแก้เชิงระบบ จำนวน 30 คน

ระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี

ผู้เข้าอบรม

  1. คุณสมบัติ เป็นผู้ที่ทำงานในเครือข่ายต่างๆที่ทำงานร่วมกับกพย. และมีศักยภาพ ความสนใจและความทุ่มเทต่อการเรียนรู้ เพื่อนำความรู้และทักษะที่ได้ไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบยาต่อไป
  2. การรับสมัคร ให้แกนนำเครือข่ายนำเสนอรายชื่อเพื่อเข้ารับการคัดเลือก รวมทั้งการสมัครด้วยตนเองของสมาชิกเครือข่าย
  3. การคัดเลือก คณะทำงานพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก ตามเกณฑ์ที่กำหนดและให้มีสัดส่วนของหญิง ชายและ ภูมิภาค ประกอบด้วย

ตัวชี้วัด

พัฒนาความเข้มแข็งกลไกการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในทุกระดับเพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบการเฝ้าระวังระบบยา

ประโยชน์ที่จะได้

1. ผู้เข้าอบรมแต่ละคนจะได้ประเมินความสำเร็จ ปัญหายาที่ยังคงมีในพื้นที่

2. ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้มีโอกาสในประเมินศักยภาพของตนเองในการจัดการปัญหา สามารถสรุปความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของตนเองและร่วมกันกำหนดประเด็นองค์ความรู้ที่ต้องการพัฒนา

3. โอกาสในการทำความรู้จัก ความเข้าใจกันระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมและระหว่างวิทยากรและพี่เลี้ยง

หนังสือ บทความ และงานวิจัยที่น่าสนใจ

 

งานวิจัย

 

 

 

 

 

30 ตุลาคม 2555: การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติ (ครั้งที่ 2)

การประชุมเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง การพัฒนารูปแบบการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติ (ครั้งที่ 2)
ภายใต้โครงการ
Good Governance in Pharmaceutical Registration, Selection, Inspection, Advertisement and Distribution (Phase III)
วันที่
30 ตุลาคม 2555  ณ โรงแรมริชมอนด์ อ.เมือง จ.นนทบุรี