LPV/r และ Oseltamivir ยารักษาโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่: กรณีศึกษาพัฒนาคุณภาพระบบทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อการเข้าถึงยา


การแถลงข่าว LPV/r และ Oseltamivir ยารักษาโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่:
กรณีศึกษาพัฒนาคุณภาพระบบทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อการเข้าถึงยา

ห้องประชุมสภาเภสัชกรรม ชั้น 10 อาคารที่ทำการสภาวิชาชีพด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เวลา 12.30-13.30 น. วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563

แถลงการณ์ร่วมโดย          

  • สภาเภสัชกรรม
  • ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
  • มูลนิธิเข้าถึงเอดส์เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ประเทศไทย
  • เครือข่ายนักวิชาการเพื่อการเข้าถึงยา
  • กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch)

รายชื่อผู้แถลงข่าว

  1. รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิ้มปานานนท์ นายกสภาเภสัชกรรม
  2. รศ.ดร.ภญ.นุศราพร เกษสมบูรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  3. ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
  4. นายเฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล มูลนิธิเข้าถึงเอดส์
  5. น.ส.กรรณิการ์ กิจติเวชกุล FTA Watch

บทเรียนระบบทรัพย์สินทางปัญญาเพื่อการเข้าถึงยา ที่ทำให้ประเทศไทยสามารถใช้ยาโลพินาเวียร์/ลิโทนาเวียร์ (lopinavir/ritonavir (LPV/r)) และยาโอเซลทามิเวียร์ (Oseltamivir) เป็นยารักษาโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ในราคาที่ระบบประกันสุขภาพสามารถรองรับได้ ในขณะที่ยา LPV/r บางตำรับยังติดสิทธิบัตรในสหรัฐอเมริกาและอีกหลายประเทศ ทำให้ยามีราคาแพงและยากต่อการเข้าถึง

Read More