นพย. 1

โครงการ “การพัฒนาผู้นำเครือข่ายในการเฝ้าระวังและจัดการปัญหาระบบยา (นพย.)
รุ่นที่ 1”


ใบสมัคร: ดาวน์โหลด

รายละเอียดโครงการ: ดาวน์โหลด

เอกสารเพื่อศึกษาก่อนเข้าร่วมอบรม

1. รายงานสถานการณ์ระบบยาประจำปี 2552, 2553, 2554 จัดทำโดย กพย. (คลิกที่รูป)

 

2. วารสารยาวิพากษ์

3. หนังสือ ปฏิบัติการมัดไม้ซีกไปงัดไม้ซุง (คลิกที่รูป)

4. หนังสือ สิทธิบัตรยา เล่ห์อุบายการผูกขาด เรียบเรียงโดย กฤษฎา ศุภวรรธนะกุล (คลิกที่รูป)

5. ร่าง พระราชบัญญัติยา พ.ศ. …. (ฉบับประชาชน) (คลิกที่รูป)

ร่างพ.ร.บ.ยาฉบับประชาชน

เอกสารแนะนำอื่นๆ

1. Management Sciences for Health. 1997. Chapter 1 Toward Sustainable Supply and Rational Use of Drugs. In Managing Drug Supply: the selection, procurement, distribution, and use of pharmaceuticals. 1997. Jonathan D. Quick, (ed.).

2. มองมุมใหม่ จัดการใหม่ ระบบสุขภาพชุมชน


รายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกเข้ารับการอบรม

  1. ภญ.สุภาวดี  เปล่งชัย – รพ.เสลภูมิ   อำเภอเสลภูมิ  จังหวัดร้อยเอ็ด
  2. ภก.กาญจนพงษ์  เพ็ญทองดี – รพ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  3. ภญ.เบญจมาศ  บุดดาวงศ์ – รพ.โนนคูณ  จ.ศรีสะเกษ
  4. ภญ.ดาริน จึงพัฒนาวดี – รพ.สมเด็จพยุพราชด่านซ้าย  อ.ด่านซ้าย จ.เลย
  5. ภก.สุภนัย ประเสริฐสุข – สสจ.ขอนแก่น
  6. ภญ.กนกพร ธัญมณีสิน – สสจ.ขอนแก่น
  7. ภก.พิสณฑ์ ศรีบัณฑิต – สสจ.เชียงใหม่
  8. ภก.สงกรานต์  มีชูนึก – รพ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย
  9. ภญ.เสาวนีย์ สาสนอ่ำ – รพ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ
  10. ภญ.ขนิษฐา   วัลลีพงษ์ – รพ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา
  11. ภก.พันธ์เทพ เพชรผึ่ง – รพ.เวียงสา จ.น่าน
  12. ภก.ชาญชัย   บุญเชิด – รพสต.ส้มผ่อ .อ.ไทยเจริญ จ.ยโสธร
  13. ภก.กิติศักดิ์ อ่อนปาน – สสจ.อุตรดิตถ์
  14. ภญ.ไพลิน สาระมนต์ ธรรมสอน – รพ.เวียงแก่น อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย
  15. ภก.จุมพล ประถมนาม – รพ.ปทุมราชวงศา อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
  16. ภญ.อรภินท์   พุ่มภัทรชาติ – รพ.สันกำแพง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่
  17. ภญ. จันทร์จรีย์ ดอกบัว – รพ.ปทุมราชวงศา อ.ปทุมราชวงศา จ.อำนาจเจริญ
  18. ภก.เอกชัย  เยาว์เฉื้อง    – สสจ.สระบุรี
  19. ภก.ทรงวุฒิ  สานจันทึก – รพ.วังม่วงสัทธรรม อ.วังม่วง จ.สระบุรี
  20. ภญ.จิราพร  พงษ์สุข – รพ.มวงเหล็ก อ.มวกเหล็ก  จ.สระบุรี
  21. ภก.ณัฐวรรธน์  เลิศภานิธิศ – รพ.ดอกคำใต้ อ.ดอกคำใต้ จังหวัด พะเยา
  22. ภก.รังสรรค์   ศิริชัย – รพ.อำนาจเจริญ
  23. นางสาวพงศ์ผกา  ภัณฑลักษณ์ – สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อ.เมือง จ.นครราชสีมา
  24. ภญ.ฐิติมา น้อยวินิจ มาแก้ว – รพ.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
  25. ภญ.จันทภรณ์ โสมอินทร์ – รพ .อำนาจเจริญ
  26. ภญ.อรนิฏา ธารเจริญ – สสจ.กาฬสินธ์
  27. ภญ.อรวรรณ กาดสมบูรณ์ – รพ.ลอง จ.แพร่
  28. ภญ.วรรณภา ไกรโรจนานันท์ – กองทุนยา เวชภัณฑ์ และวัคซีน สปสช. กรุงเทพมหานคร
  29. ภญ.โชติกา ชูพงษ์เสริฐ – สปสช. เขต 4 อำเภอเมือง จ.สระบรี
  30. ภญ. ปรางวไล เหล่าชัย  – สปสช. เขต 5อ.เมือง  จ.ราชบุรี

หลักการและเหตุผล

ในการดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยาของแผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (ระยะที่ 1) และแผนงานพัฒนากลไกเฝ้าระวังระบบยา(ระยะที่ 2) หรือ กพย. พบว่าการขับเคลื่อนงานที่ผ่านมาสามารถดำเนินการได้สำเร็จในระดับพื้นที่ และในลักษณะเฉพาะประเด็น  แต่ยังไม่สามารถบรรลุการจัดการปัญหาในเชิงระบบ ภาพรวมได้ ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากการขาดปัจจัยสำเร็จที่สำคัญคือกำลังคนที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง  ดังนั้นในแผนปฎิบัติการปีที่ 2  ของแผนงานพัฒนากลไกเฝ้าระวังระบบยา (1 ตุลาคม 2555 ถึง 30 กันยายน 2556)     จึงได้กำหนดตัวชี้วัดที่ 1. ว่าด้วยการพัฒนาความเข้มแข็งกลไกการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในทุกระดับเพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบการเฝ้าระวังระบบยา  และมีกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรเสริมศักยภาพผู้นำเครือข่ายเฝ้าระวังระบบยามารองรับ  โดยที่เป้าหมายการผลิตผู้นำฯเพื่อมาทำหน้าที่ร่วมใน

หลักการที่สำคัญในการพัฒนาผู้นำในการขับเคลื่อน  ถือว่าเป็นจุดเริ่มการพัฒนา “คน” เพื่อมาเป็น “ผู้นำ” ในการขับเคลื่อนการพัฒนา “งาน” ให้เกิดความเชื่อมต่อการขับเคลื่อนใน “การเฝ้าระวังและจัดการปัญหาในยาเชิงระบบ” ครบวงจร และต่อเนื่องและยั่งยืนในอนาคต ผ่านกระบวนการฝึกอบรมและฝึกปฏิบัติงานจริงร่วมกับวิทยากร  ผู้เชี่ยวชาญที่ปฏิบัติงานจริงในการขับเคลื่อนในการพัฒนาระบบยา

เป้าหมาย: สร้าง “นักขับเคลื่อน”การพัฒนาระบบยาจากปัญหาพื้นที่สู่การแก้เชิงระบบ จำนวน 30 คน

ระยะเวลาดำเนินการ 1 ปี

ผู้เข้าอบรม

  1. คุณสมบัติ เป็นผู้ที่ทำงานในเครือข่ายต่างๆที่ทำงานร่วมกับกพย. และมีศักยภาพ ความสนใจและความทุ่มเทต่อการเรียนรู้ เพื่อนำความรู้และทักษะที่ได้ไปใช้ในการขับเคลื่อนระบบยาต่อไป
  2. การรับสมัคร ให้แกนนำเครือข่ายนำเสนอรายชื่อเพื่อเข้ารับการคัดเลือก รวมทั้งการสมัครด้วยตนเองของสมาชิกเครือข่าย
  3. การคัดเลือก คณะทำงานพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก ตามเกณฑ์ที่กำหนดและให้มีสัดส่วนของหญิง ชายและ ภูมิภาค ประกอบด้วย

ตัวชี้วัด

พัฒนาความเข้มแข็งกลไกการทำงานร่วมกันของเครือข่ายในทุกระดับเพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบการเฝ้าระวังระบบยา

ประโยชน์ที่จะได้

1. ผู้เข้าอบรมแต่ละคนจะได้ประเมินความสำเร็จ ปัญหายาที่ยังคงมีในพื้นที่

2. ผู้เข้าร่วมอบรมจะได้มีโอกาสในประเมินศักยภาพของตนเองในการจัดการปัญหา สามารถสรุปความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของตนเองและร่วมกันกำหนดประเด็นองค์ความรู้ที่ต้องการพัฒนา

3. โอกาสในการทำความรู้จัก ความเข้าใจกันระหว่างผู้เข้าร่วมอบรมและระหว่างวิทยากรและพี่เลี้ยง