
Author: admin
การประชุม “ภาคีวิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา 4 ภาค”
การประชุม “ภาคีวิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา 4 ภาค”
จัดในรูปแบบการประชุมออนไลน์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10.00-16.00 น.
Read Moreเสวนาวิชาการ ระบบสิทธิบัตร “เอื้อ” หรือ “ขัดขวาง”การเข้าถึงยา กรณียาฟาวิพิราเวีย
เสวนาวิชาการ ระบบสิทธิบัตร “เอื้อ” หรือ “ขัดขวาง” การเข้าถึงยา: กรณียาฟาวิพิราเวีย
วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤษภาคม 2564 เวลา 13.00 – 16.00 น.
จัดโดย ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา และเครือข่าย
สื่อวิดีโอชุด สัปดาห์รู้รักษ์ ตระหนักใช้ยาต้านแบคทีเรีย 2563
ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับภาคีเครือข่าย เนื่องในโอกาส “สัปดาห์รู้รักษ์ตระหนักใช้ยาต้านแบคทีเรีย ประจำปี 2563” ระหว่างวันที่ 16-24 พฤศจิกายน 2563
Read Moreการแถลงข่าว “พร้อมแล้วจริงหรือ? กนศ. ประชุมตัดสินใจ 7 เมษา 64 เสนอรัฐบาลเข้าร่วม CPTPP”
การแถลงข่าว “พร้อมแล้วจริงหรือ? กนศ. ประชุมตัดสินใจ 7 เมษา 64 เสนอรัฐบาลเข้าร่วม CPTPP”
วันพุธที่ 31 มีนาคม 2564 เวลา 10.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 2 มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
ผู้ร่วมแถลง
- วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ มูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI)
- เฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล มูลนิธิเข้าถึงเอดส์
- คำรณ ชูเดชา เครือข่ายเฝ้าระวังธุรกิจสุรา
- กรรณิการ์ กิจติเวชกุล เอฟทีเอ ว็อทช์
แก้ พรบ. สิทธิบัตร ดูเหมือนดี แต่บั่นทอนการเข้าถึงยา ทำซีแอลยากขึ้น สอดไส้ให้สิทธิบัตรการบำบัดรักษาโรค
แก้ พรบ. สิทธิบัตร ดูเหมือนดี แต่บั่นทอนการเข้าถึงยา ทำซีแอลยากขึ้น สอดไส้ให้สิทธิบัตรการบำบัดรักษาโรค
จากที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์เปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) สิทธิบัตร (ฉบับที่ …) พ.ศ. …. ผ่านทางเว็บไซต์ของกรมฯ ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2563 ถึง 31 ตุลาคม 2563 องค์กรภาคประชาสังคม 12 องค์กรได้ส่งจดหมายถึงกรมฯ แสดงความคิดเห็น ข้อกังวล และข้อเสนอแนะต่อร่าง พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าวไปเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2563 นั้น
ผศ.ดร.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการพัฒนาและเฝ้าระวังระบบยา (กพย.) จุฬาฯ กล่าวว่า ค่อนข้างกังวลกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการแก้ไข พ.ร.บ.สิทธิบัตร ครั้งนี้ เพราะเนื้อหาจะทำลายอุตสาหกรรมยาชื่อสามัญ ทำให้ไม่สามารถพัฒนายาที่หมดอายุสิทธิบัตรได้ เนื่องจากยาเหล่านั้นจะถูกคำขอสิทธิบัตรอีกหลายฉบับลากอายุความคุ้มครองผูกขาดออกไป ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงทางยาและการเข้าถึงยาของประชาชน และทำลายระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในภาพรวม ทั้งนี้ ผู้จัดการ กพย.ตั้งข้อสังเกตว่า สาระที่แก้ไขหลายเรื่องเป็นข้อเรียกร้องที่เกินไปกว่าความตกลงทริปส์ (ทริปสฺพลัส) ที่เคยถูกเสนอมาในการเจรจาเอฟทีเอต่างๆ
Read More